บูสเตอร์ปั๊ม ทรานเฟอร์ปั๊ม
ภาพผลงาน บูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump) ทรานเฟอร์ปั๊ม (Transfer Pump)
บูสเตอร์ปั๊ม Booster Pump
-
บูสเตอร์ปั๊ม BOOSTER PUMP เพิ่มแรงดันน้ำอัตโนมัติ DOS รุ่น DOS COMPAK BOOSTER PUMP54,950.00 ฿
78,500.00 ฿ (-30%)มีหลายคุณสมบัติให้เลือก
-
บูสเตอร์ปั๊ม เพิ่มแรงดันอัตโนมัติ DOS COMPAK BOOSTER PUMP รุ่น EBARA CDX54,950.00 ฿
78,500.00 ฿ (-30%)มีหลายคุณสมบัติให้เลือก
-
บูสเตอร์ปั๊ม BOOSTER PUMP เพิ่มแรงดันน้ำอัตโนมัติ DOS POWER BOOSTER PUMP รุ่น DBP-D CMB2.00T, 380V, T20095,599.00 ฿
-
บูสเตอร์ปั๊ม BOOSTER PUMP เพิ่มแรงดันน้ำอัตโนมัติ DOS POWER BOOSTER PUMP รุ่น DBP-D CMB3.00T, 380V, T500111,630.00 ฿
-
บูสเตอร์ปั๊ม BOOSTER PUMP เพิ่มแรงดันน้ำอัตโนมัติ DOS POWER BOOSTER PUMP รุ่น DBP-D CMB4.00T, 380V, T500133,589.00 ฿
บูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump) และทรานเฟอร์ปั๊ม (Transfer Pump) เป็นอุปกรณ์สูบน้ำที่ระบบประปาและอุตสาหกรรมซึ่งสามารถเพิ่มความดันและส่งน้ำให้ไหลไปยังจุดต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump) หรือ ปั๊มน้ำเสริมแรงดัน
บูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump) หรือ ปั๊มน้ำเสริมแรงดัน คือ ระบบเพิ่มแรงดัน (แบบปิด) และรักษาระดับแรงดันน้ำในท่อ โดยใช้ถังแรงดันเป็นตัวช่วยทำให้แรงดันน้ำในระบบมีความสม่ำเสมอ โดยอาศัยการทำงานของ Pressure Switch ช่วยในการตัดต่อสั่งงาน (Start) และหยุดการทำงาน (Stop) บูสเตอร์ปั๊ม (Booster Pump) จะประกอบด้วยปั๊มน้ำ 2 ตัวขึ้นไป ทำงานแบบสลับและเสริมแรงดันอีกตัวหนึ่งเพื่อให้แรงดันตามความต้องการของการใช้งาน
ทรานเฟอร์ปั๊ม (Transfer Pump)
ทรานเฟอร์ปั๊ม (Transfer Pump) คือ ระบบการสูบน้ำจากต้นทางไปยังปลายทาง (แบบเปิด) หรือจากถังน้ำด้านล่างส่งไปที่ถังน้ำด้านบน และใช้หลักการแรงโน้มถ่วงเพื่อไปจ่ายในระบบ เหมาะสำหรับตึก, อาคารสูง โดยใช้ก้านอิเล็กโทรด, ลูกลอย (Float) หรือ Level Control เป็นต้น ในการควบคุมการทำงานนิยมใช้ปั๊ม 2 ตัว (Twin Pump) โดยมีฟังก์ชั่นสลับการทำงานของปั๊ม (Pump) เพื่อไม่ให้ปั๊มทำงานหนักจนเกินไป และฟังก์ชั่นเสริมปั๊มตัวที่ 2 เพื่อให้น้ำในถังด้านบนเพียงพอต่อการใช้งานในกรณีที่มีการใช้น้ำจำนวนมาก ๆ และในกรณีมีปั๊มตัวใดตัวหนึ่งเสียก็สามารถใช้ปั๊มตัวที่เหลือทำงานแทนได้
ซึ่งการควบคุมปั๊มน้ำแบบ Transfer Pump และการควบคุมปั๊มน้ำแบบ Booster Pump นิยมใช้งานอาคารสูง, อพาร์ทเม้นท์, คอนโดมิเนียม, โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น โดยปกติอาคารที่มีระดับความสูงตั้งแต่ 5 ชั้นขึ้นไป และในแต่ละชั้นมีจุดใช้น้ำจำนวนมากมักมีความจำเป็นที่ต้องใช้ชุดปั๊มน้ำเสริมแรงดัน (Booster Pump) ทั้ง 2 ชุดประกอบกัน โดยจะใช้ Transfer Pump ในการส่งหรือเติมน้ำขึ้นไปเก็บบนชั้นดาดฟ้าที่มีถังเก็บน้ำรองรับอยู่ จากนั้นก็ใช้ Booster Pump ในการกระจายน้ำสู่ห้องต่าง ๆ ภายในอาคาร น้ำที่ไปใช้ในอาคารจะมีความแรงของน้ำที่คงที่สม่ำเสมอ
การเลือกใช้บูสเตอร์ปั๊มและทรานเฟอร์ปั๊มพิจารณาปัจจัยต่างๆ
1 อัตราการตอบสนอง (อัตราการไหล) - เลือกปั๊มที่มีขนาดปริมาณน้ำหรือที่ต้องการให้ปั๊มสามารถทำงานได้สูงสุด
2 ระยะส่ง (Head) - พิจารณาความดันหรือระยะทางสูงสุดที่ปั๊มสามารถส่งจ่ายได้ในส่วนของพื้นที่ใช้งานเพื่อแก้ไขปัญหาไม่ถึงน้ำไม่พอ
3 วัสดุ - เลือกใช้ปั๊มที่ผลิตจากวัสดุที่มีประสิทธิภาพสูงและมีคุณสมบัติจากสารเคมีต่างๆ เพื่อให้สามารถดำเนินการได้เร็วเกินไป
3 ไฟฟ้า - ใช้ไฟ 200v และ 380v โดยต้องเลือกกำลังมอเตอร์ให้คุณสมบัติของปั๊มพิจารณาระบบไฟฟ้าในพื้นที่ด้วย
นอกเหนือจากการบูสเตอร์ปั๊มและอินเวอร์เตอร์เฟอร์รีปั๊มระบบควบคุมการทำงานของระบบประปาและวิศวกรที่มีความสำคัญในการทำท่อต่อระบบไฟฟ้าและการควบคุมระบบควบคุมการทำงานของปั๊มอย่างมีประสิทธิภาพอย่างมีประสิทธิภาพ ไกลออกไป